Monday, August 24, 2020

[Botany • 2020] Scaphochlamys longipedunculata (Zingiberaceae) บุปผานรา • A New Species from southern Thailand


 Scaphochlamys longipedunculata Maknoi, Ruchis. & Jenjitt. 

in Ruchisansakun, Jenjittikul & Maknoi, 2020. 
บุปผานรา  || DOI: 10.1017/S0960428620000177  

Photo: Saroj Ruchisansakun. 

Abstract
A new species, Scaphochlamys longipedunculata (Zingiberaceae), is described and illustrated here. It is similar to Scaphochlamys grandis but differs in having 1- or 2-leaved shoots (versus shoots with 5 or more leaves) and peduncle length c.17 cm (versus peduncle length c.7 cm).

Keywords: Scaphochlamys perakensis, Southeast Asia, Zingiberaceae



Holotype of Scaphochlamys longipedunculata Maknoi, Ruchis. & Jenjitt.
Photograph taken by Saroj Ruchisansakun. 


Scaphochlamys longipedunculata Maknoi, Ruchis. & Jenjitt., sp. nov.

Etymology. The specific epithet, longipedunculata, refers to the peduncle, which is long in comparison with that of other Thai species. A long peduncle can also be observed in Scaphochlamys minutiflora, but that species is distinctly different from others in its crisped bracts. 


Saroj Ruchisansakun, Thaya Jenjittikul and Charun Maknoi. 2020. Scaphochlamys longipedunculata, A New Species from southern Thailand. Edinburgh Journal of Botany. First View. DOI: 10.1017/S0960428620000177
ดร. สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ร่วมกับ ผศ.ดร. ทยา เจนจิตติกุล ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ ดร. จรัญ มากน้อย นักพฤกษศาสตร์ประจำสวนพฤกษศาสตร์บ้านร่มเกล้า ตีพิมพ์พืชชนิดใหม่ของโลก 
    "บุปผานรา" Scaphochlamys longipedunculata Maknoi, Ruchis. & Jenjitt. 
    โดยชื่อ บุปผานรา ตั้งตามสถานที่ค้นพบคือจังหวัด นราธิวาส เพื่อสร้างความตระหนักแก่ความสำคัญของผืนป่าในจังหวัดนราธิวาส
    การค้นพบครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ของป่าภาคใต้ของไทย ที่ยังมีความอุดมสมบูรณ์และมีพื้นที่ที่ยังขาดการสำรวจอีกมาก การอนุรักษ์พื้นป่าบริเวณนี้จึงมีความสำคัญต่อความหลากหลายทางชีวภาพของไทยและของโลก
พืชชนิดนี้พบว่าเป็นพืชชนิดใหม่จากการศึกษาพรรณไม้ที่เก็บรักษาอยู่ในหอพรรณไม้สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ QBG โดยไม่พบต้นสดเนื่องจากเป็นพืชหายากและออกดอกยากมาก ซึ่งทำให้เห็นว่า หอพรรณไม้เป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญมากต่อการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ