Thrixspermum obyrneanum N.Toolmal, P.T.Ong & Schuit., in Toolmal, Ong & Schuiteman, 2022. เอื้องแมงมุมขาวนรา || DOI: 10.15517/lank.v22i2.52253 |
Abstract
Thrixspermum obyrneanum (sect. Thrixspermum) is a new species described from Narathiwat Province, southern Thailand, and from Kelantan, Peninsular Malaysia. It is morphologically similar to T. leucarachne but differs in the much shorter sepals and petals, tepals and lip pale yellow, lateral lobes of the lip 6–7 mm long, broadly triangular to ovate, with narrowly truncate and erose apex, mid-lobe 3.0–4.7 mm long, cylindrical to broadly triangular, obtuse.
Keywords: Kelantan, Narathiwat Province, section Thrixspermum, taxonomy
Thrixspermum obyrneanum N.Toolmal, P.T.Ong & Schuit., sp. nov.
Diagnosis: Thrixspermum obyrneanum differs from T. leucarachne Ridl. in the much shorter sepals and petals (2.1–4.2 vs.6.5–8.0 cm long), tepals and lip pale yellow (vs. tepals pale yellow or white, tinged with purple at the base, lip white), lateral lobes of the lip 6–7 mm long, broadly triangular to ovate, with narrowly truncate and erose apex (vs.7–8 mm long, narrowly triangular to oblong, with obtuse, unequally bilobed apex), mid-lobe 3.0–4.7 mm long, cylindrical to broadly triangular, obtuse (vs. 6–9 mm long, narrowly triangular, acute).
Distribution: Southern Thailand (Narathiwat, type) and Peninsular Malaysia (Kelantan) (Fig. 6).
Etymology: This species is named in honour of the late Peter O’Byrne (1955–2018), who has done much valuable work on Thrixspermum and many other groups of orchids in Southeast Asia.
เอื้องแมงมุมขาวนรา, เอื้องแมงมุมมลายู
Nopparut Toolmal, Ong Poh Teck and André Schuiteman. 2022. Thrixspermum obyrneanum (Aeridinae), A New Species from Peninsular Thailand and Malaysia. Lankesteriana: International Journal on Orchidology. 22(2); 155–167. DOI: 10.15517/lank.v22i2.52253
เอื้องแมงมุมขาวนรา
Thrixspermum obyrneanum Toolmal, P.T. Ong & Schuit.
คำระบุชนิด “obyrneanum” ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแด่ Peter O’Byrne ผู้เชี่ยวชาญพืชวงศ์กล้วยไม้ชาวอังกฤษ ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกการศึกษาพืชสกุลเอื้องตะขาบในมาเลเซียและประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้มอบข้อมูลการศึกษากล้วยไม้สกุลเอื้องตะขาบทั้งหมดแก่สวนพฤกษศาสตร์คิว (KEW) กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการศึกษากล้วยไม้สกุลนี้ของนักวิจัยไทยจนถึงปัจจุบัน
ลักษณะเด่น ของ เอื้องแมงมุมขาวนรา ได้แก่ ดอกสีเหลืองอ่อน กลีบปากสีเหลืองอ่อน แต้มสีม่วงแดง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปแถบ ยาว 2.1-4.2 ซม. หูกลีบปากด้านข้างรูปคล้ายสามเหลี่ยมหรือคล้ายรูปไข่ ยาว 6-7 มม. ปลายกลีบรูปตัดตรงและหยักไม่เป็นระเบียบ ปลายกลีบปากรูปทรงกระบอก ยาว 3-4.7 ซม. ปลายมน ด้านบนมีขนสีขาวหนาแน่น
พบกระจายพันธุ์เฉพาะในแถบเทือกเขาเขาสันกาลาคีรี จ.นราธิวาส ของประเทศไทย และในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
เอื้องแมงมุมขาวนรา ถูกเก็บตัวอย่างครั้งแรกโดยทีมวิจัยร่วมกับนายอับดุลรอแม บากา และนายอับดุลการิม สีแป ผู้สนใจกล้วยไม้ในพื้นที่ จากเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา จ.นราธิวาส เมื่อวันที่ 27 ต.ค. 2563 โดยมีตัวอย่างพรรณไม้ต้นแบบ (type specimen) ในการบรรยายชนิด คือ N.Toolmal, A.Baka, A.Seepae & W.Tanming 27102001
https://www.dailynews.co.th/news/2985327/